Page 20 - CPAM-CSAM
P. 20

“โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา”                                                    Yo vo Ānanda mayā dhammo ca vinayo ca desito paññatto,

                                                                                                                                                   so vo mam’ accayena satthā. (PTS: DN 2, p.154)
                           “ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย

                                   หลังจากเราล่วงลับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย”                                             Ānanda, the teaching and discipline which I have taught and made known to you

                                                                      มหาปรินิพพานสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรค (๑๐/๑๔๑/๑๗๘)                                      will be your teacher after my passing
                                                                                                                                                                                       Mahāparinibbānasutta, Dīgha Nikāya


           ความเป็นมาของโครงการพระไตรปิฎก                    History of Dhammachai Tipitaka Project                                 แต่ เมื่อกาลเวลาผ่านไปคัมภีร์ใบลานจำานวนมากได้ผุกร่อนเสื่อมสลาย  บ้างก็สูญหาย  บ้างก็ถูกทำาลาย
                                                                                                  ฺ



               แม้  พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธ-             A  lthough the Lord Buddha passed away                         ไปอย่างน่าเสียดาย  และผู้ที่สามารถอ่านอักษรโบราณนับวันก็มีน้อยลงทุกที  อีกทั้งคัมภีร์ที่เก็บรักษาไว้ใน
                                                                         _
           ปรินิพพานนานมาแล้ว  แต่พระสัทธรรมคำาสอน               into Nirvana a long time ago, the absolute truth                 พิพิธภัณฑ์ หรือตามวัดต่างๆ ก็ไม่ได้ถูกนำามาศึกษาในวงกว้าง

           ของพระองค์ยังประโยชน์สุขให้เกิดขึ้นแก่สรรพ-           in his teachings is still beneficial, and has been                    ด้วยตระหนักถึงสภาวการณ์ดังกล่าว วัดพระธรรมกายจึงได้จัดตั้งโครงการพระไตรปิฎกขึ้นในปี
           ชีวิตดุจประทีปนำาทางมานานกว่า ๒,๖๐๐ ปี                a guiding light for mankind for over 2600 years.                 พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้

               เหล่าพุทธสาวกตั้งแต่ครั้งพุทธกาลสืบทอด                 Since the Buddha’s time, his disciples                           ๑.เพื่ออนุรักษ์คัมภีร์ใบลานให้คงอยู่เป็นมรดกธรรมของโลกไปตลอดชั่วกาลนาน

           พุทธธรรมด้วยการสวดทรงจำา เรียกว่า มุขปาฐะ             preserved and transmitted the Dhamma                                  ๒.เพื่อจัดทำาฐานข้อมูลพระไตรปิฎกที่สามารถเชื่อมโยงเนื้อความกับภาพถ่ายคัมภีร์ใบลานโดยตรง

           กระทั่งเมื่อราวปี พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ในสมัยพระเจ้า          originally by way of mukhapatha, “oral                           เป็นการอำานวยความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎก ให้กับนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนาทั่วโลก

           วัฏฏคามินีอภัย  แห่งประเทศศรีลังกา  โปรดให้           recition”. This lasted until around 400 B.E. during

           บันทึกพระไตรปิฎกลงในใบลานเป็นครั้งแรก                 the reign of King Vatta Gamani Abhaya, the
                                                                                                             -
               นับแต่นั้นคัมภีร์พระไตรปิฎกรวมทั้งคัมภีร์         pious Sinhala King of Sri Lanka, when the Pali
                                                                    ฺ
           อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา จึงได้รับการสืบทอดโดย            Tipitaka was first inscribed on palm leaves.
                                                                                      -
                                                                                            ฺ
           การจารจารึกลงในคัมภีร์ใบลานสืบต่อกันมา                     Since then the Pali Tipitaka, commentaries,
                   ปัจจุบันอาจแบ่งคัมภีร์ใบลานออกเป็น  ๔         sub-commentaries and sub-sub-commentaries                            O  ur ancestors had put a lot of effort into inscribing and preserving these palm-leaf

           สายจารีตใหญ่  ได้แก่                                  have been transmitted by inscribing on the                         manuscripts which have significant historical and cultural values as Buddhist documentary heritage.

                ๑. คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล                        palm-leaf manuscripts which can be                                 Unfortunately, over time the precious manuscripts have disappeared through “natural” causes and

                ๒. คัมภีร์ใบลานอักษรพม่า                         divided into 4 main traditions as follows:                         lack of knowledge of methods of preservation. Nowadays, very few people can read, preserve and

                ๓. คัมภีร์ใบลานอักษรขอม                               1. Sinhalese                                                  make use of the manuscripts.
                ๔. คัมภีร์ใบลานอักษรธรรม ได้แก่ ธรรม                  2. Burmese                                                         Thus, Wat Phra Dhammakaya has launched “The Dhammachai Tipitaka Project”, with the aim
                                                                                                                                                                                                          ฺ
           ล้านนา ธรรมอีสาน เป็นต้น                                   3. Khom                                                       to preserve the existing palm-leaf manuscripts and to create the digitalized and computerized

                                                                                                                                                      -
                                                                      4. Tham (for example Tham-Lanna and                           database of the Pali Tipitaka in order to support the Buddhist studies by all interested parties.
                                                                                                                                                            ฺ
                                                                   Tham-Isan)                                                       Objectives of Project

                                                                                                                                         1.To preserve the ancient palm-leaf manuscripts as Buddhist documentary heritage.

                                                                                                                                         2.To create the Tipitaka databases that will link text to images of the manuscripts. This system
                                                                                                                                                            ฺ
                                                                                                                                    will greatly facilitate the academics on Buddhist Studies.

        DTP    20                                                                                                                                                                                                               21 DTP
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25